ประเพณี การฝังแร่เหล็กไหลในร่างกาย
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า แร่เหล็กไหลของแท้ของจริงนั้นย่อมต้องคู่กับคนจริง ดังนั้นผู้ที่ใจกล้ามีความศรัทธาในธาตุกายสิทธิ์เหล็กไหลเท่านั้นที่ แร่เหล็กไหลยอมที่จะอยู่ด้วย พิธีการฝังเหล็กไหลจึงเป็นพิธีอันมีความสำคัญ และแสดงให้เห็นความเชื่อมั่น และศรัทธาในแร่กายสิทธิ์เหล็กไหลอย่างแรงกล้า มิเช่นนั้นแล้วคนธรรมดาคงไม่กล้าพอที่จะให้ใครเอาสิ่วที่แหลมคมมาเจาะเข้าเนื้อตัว ซึ่งต้องมีความอดทนต่อความเจ็บปวดอย่างมาก กว่าที่แร่เหล็กไหลจะถูกฝังเข้าไปในร่างกาย
อันที่จริงแล้วหากผู้ใดมีความเชื่อมั่น และศรัทธาก็จะสามารถผ่านพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์นี้ไปได้ โดยไม่ได้รับความเจ็บปวดเลยแม้แต่น้อย แต่หากจิตใจยังไม่มั่นคงพอ เมื่อถูกเหล็กอาคมทะลุเนื้อก็จะได้รับความเจ็บปวดเอาการอยู่เหมือนกัน
พิธีการฝังแร่เหล็กไหล

พิธีการฝังแร่เหล็กไหล
ดังนั้นที่จะเข้ารับการการฝังแร่เหล็กไหล จะต้องมีจิตใจที่มั่นคงและมีความศรัทธาในแร่กายสิทธิ์เหล็กไหลอย่างแท้จริง
เมื่อผ่านพิธีกรรมนี้ไปได้ แร่เหล็กไหลชั้นดีก็จะเป็นสมบัติติดตัวของเราไปจนตาย และคอยคุ้มครองเราจากภัยอันตรายต่างๆ ได้อย่างอัศจรรย์ยิ่ง
การฝังแร่เหล็กไหลตอกด้วยเหล็กอาคม
การฝังแร่เหล็กไหลจำเป็นจะต้องเจาะเนื้อด้วยการใช้เหล็กแหลมอาคม เจาะเข้าไปภายในร่างกาย เพื่อที่จะนำแร่เหล็กไหลฝังเข้าไปในร่างกายได้ ดังนั้นผู้ที่จะเข้าพิธีการฝังแร่เหล็กไหลได้ จึงต้องเป็นผู้ที่มีความศรัทธาในแร่เหล็กไหลอย่างแท้จริงเท่านั้น เพราะต้องผ่านความเจ็บปวดจากการเจาะเนื้อด้วยเหล็กแหลม จนกระทั่งทะลุทั้งสองด้าน เพื่อที่จะสามารถนำแร่เหล็กไหลฝังลงไประหว่างรอยแผลได้ หากเจาะไม่ทะลุ แร่เหล็กไหลจะถูกร่างกายต่อต้าน และผลักแร่เหล็กไหลให้หลุดออกมาจากร่างกายได้ ดังนั้นการฝังแร่เหล็กไหลที่ถูกต้อง จึงต้องเจาะเนื้อบริเวณที่ทำการฝังให้ทะลุทั้งสองด้าน แร่เหล็กไหลจึงจะไม่หลุดออกมาจากร่างกาย
- อุปกรณ์ในการฝังแร่เหล็กไหล
- ขั้นตอนการตอกด้วยเหล็กอาคม
เหล็กที่ใช้ตอกควรทำด้วยแร่เหล็กน้ำพี้ ที่มีความแกร่งและเหนียวมาก ผสมกับแร่เหล็กไหลน้ำหนึ่งสุริยัน ( เหล็กไหลเพลิง ) จันทรา ( ไหลเพชรดำ ) ด้วยพลังพระอาทิตย์ และ พลังพระจันทร์ จึงสามารถตอกทะลุเนื้อได้ในครั้งเดียว ไม่ว่าในร่างกายของผู้นั้นจะลงอาคมชนิดไหนมาก็ตาม ก็ไม่อาจทนต่อเหล็กอาคมเล่มนี้ได้ เหล็กอาคมจะสามารถเจาะทะลุเนื้อได้ทุกราย

เหล็กไหลเพลิง
ตำแหน่งการฝังแร่เหล็กไหล
การเลือกตำแหน่งในการที่จะฝังแร่เหล็กไหล นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก หากเป็นทหารนักรบ ให้ฝังตรงที่ตำแหน่งหัวไหล่ เพราะเป็นตำแหน่งที่แร่เหล็กไหลส่งพลังเป็นมหาอุดได้ดีที่สุด แต่หากเป็นคนธรรมดาที่มิได้เข้าทำการรบทัพจับศึก ให้ฝังแร่เหล็กไหลที่บริเวณใต้ท้องแขน โดยผู้ชายจะฝังที่แขนขวา และผู้หญิงจะฝังที่แขนด้านซ้าย ซึ่งตามตำนานการฝังเหล็กไหลกล่าวเอาไว้ว่า หญิงซ้าย ชายขวา แต่มีหลายคนเหมือนกันที่ฝังทั้งแขนซ้ายและแขนขวา

แร่เหล็กไหลที่ฝังอยู่ใต้ท้องแขน
แร่เหล็กไหลที่นำมาใช้ฝังจะเป็นเหล็กไหลชั้นดี ประเภทเหล็กไหลน้ำหนึ่ง ที่ต้องใช้การลนเท่านั้น เพราะเป็นแร่เหล็กไหลที่ไม่ยอมแข็งตัวเองในธรรมชาติอย่าง ” เหล็กไหลเพชรดำ ” เป็นต้น จึงต้องมีพิธีการลนแร่เหล็กไหล ประเภทนี้เป็นพิเศษ ซึ่งจะทำพิธีลนแร่เหล็กไหลกันในถ้ำ ที่แร่เหล็กไหลรวมตัวกันอยู่ หรือเรียกว่า ” รังเหล็กไหล ” โดยใช้การเพ่งเทียนด้วยอาคมการเพ่งกสิณไฟที่สามารถทำให้เทียน มีความร้อนสูงจนกระทั่ง แร่เหล็กไหล ยอมเคลื่อนตัวออกมาจากรังเหล็กไหล แล้วหยดออกมาเป็นเม็ดเล็กๆ คล้ายกับเม็ดไข่มุกขนาดเล็ก เหล็กไหลประเภทนี้เหมาะที่จะนำมาใช้ฝังในร่างกายมากที่สุด
- ทดสอบเหล็กไหล ลูกปืนยิงไม่ออก
- ทดสอบเหล็กไหล ลูกปืนยิงไม่ออก
- ทดสอบเหล็กไหล ลูกปืนยิงไม่ออก
- คาถาบูชาวัตถุมงคล หลวงพ่อสิมพะลี ธรรมวโร รุ่นสร้างหอระฆัง ปี 2564
- คาถาบูชาเจ้าแม่ลับแลทองคะนองฤทธิ์ พระอาจารย์ศุภสิทธิ์
- ประวัติหลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง นนทบุรี
- ประวัติหลวงพ่อผินะ วัดสนมลาว จ.สระบุรี
- ร้าน พระเครื่อง
- วัดละหารไร่ หรือ วัดไร่วารี(ชื่อเดิม)จังหวัดระยอง
- แผ่นืที่เวบ
- ข่าวพระเครื่อง
- วิธีการ ชำระ เงิน
- ติดต่อเรา
- แผ่นที่เวบ
- พระคาถา และ วิธีท่อง
- คาถา บูชา หลวงพ่อทันใจ
- คาถา พระภควัมบดี
- คาถา สาริกา มหาเทพรำจวน
- คาถาบูชาพระปรพจำวันจันทร์-พระพุทธรูปปางห้ามญาติ
- คาถาบูชาพระประจำวันพฤหัสบดี-พระพุทธรูปปางสมาธิ หรือ ปางตรัสรู้
- คาถาบูชาพระประจำวันพุธ(กลางคืน)-พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์
- คาถาบูชาพระประจำวันพุธ(กลางวัน)-พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร
- คาถาบูชาพระประจำวันศุกร์-พระพุทธรูปปางลำพึง
- คาถาบูชาพระประจำวันอังคาร-พระพุทธรูปปางไสยาสน์ หรือ ปางโปรดอสุรินทราหู
- คาถาบูชาพระประจำวันเสาร์-พระพุทธรูปปางนาคปรก
- คาถาบูชาพระพุทธรูปประจำวันอาทิตย์-ปางถวายเนตร
- คาถาพระพิฆเณศ โอมศรีฆเณศายะนะมะ
- คาถาสวดแผ่เมตตาตนเอง
- คาถาสาริกามหาเสน่ห์ มหารวย
- คาถาเมตตามหานิยม
- พระคาถาพระพรม โอมปะระเมสะนมัสการัม
- พระคาถาพระอิศวร โอมนะมัสสิวายะ
- ประวัติเกจิอาจารย์
- ประวัติ ครูบากฤษณะ อิทวันโณ
- ประวัติ ครูบาวัง วัดบ้านเด่น จ.ตาก
- ประวัติ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุธาวาส จ.สกลนคร
- ประวัติ พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน นครศรีธรรมราช
- ประวัติ หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล
- ประวัติ หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
- ประวัติ หลวงปู่เริ่ม วัดจุกเฌอ ชลบุรี
- ประวัติ หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว จ.สุพรรณบุรี
- ประวัติ หลวงพ่อจืด นิมฺมโล
- ประวัติ หลวงพ่อดี จัตตมโล วัดพระรูป สุพรรณบุรี
- ประวัติ หลวงพ่อปาน สุนันโท
- ประวัติ หลวงพ่อพรหม
- ประวัติ หลวงพ่อรวย ปาสาทิโก วัดตะโก จ.พระนครศรีอยุธยา
- ประวัติ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี
- ประวัติ หลวงพ่อล้อม วัดบางสวรรค์ สุราชฎร์ธานี
- ประวัติ และ วัตถุมงคล หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
- ประวัติหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม
- ประวัติหลวงปู่เจือ เจ้าตำรับโหงวเฮ้ง วัดสว่างหนองแวง(บ้านไผ่) นครราชสีมา
- ประวัติหลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน กรุงเทพฯ
- ประวัติหลวงพ่อดำ วัดใหม่นภาราม จ.นราธิวาส
- ประวัติหลวงพ่อสาคร มนุญโญ วัดหนองกรับ จ.ระยอง
- ประวัติหลวงพ่อหรุ่น วัดอัมพวัน
- ประวัติหลวงพ่อแพ เขมังกโร วัดพิกุลทอง สิงห์บุรี
- ประวัติอาจารย์เฮง ไพรยวัล วัดสะแก จ.พระนครศรีอยุธยา
- พระอาจารย์ศุภสิทธิ์ วัดบางน้ำชน กรุงเทพฯ
- สามเกจิอาจารย์แห่งวัดสะพานสูง จังหวัดนนทบุรี
- หลวงตาสรวง สิริปุญโญ
- หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ จ.ระยอง
- หลวงปู่อิน เขมเทโว
- หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว
- หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ( พระราชสังวราภิมณฑ์ )
- หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่ จ.นครราชสีมา
- หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ นครสวรรค์
- หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน
- ประวัติหลวงพ่อคง วัดบ้านสวน
- สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี
- การสร้างพระสมเด็จฯ
- ประวัติ วัดบางขุนพรหม ( วัดใหม่อมตรส )
- การตกพระสมเด็จฯ กรุวัดบางขุนพรหม
- การเปิดกรุอย่างเป็นทางการขึ้น พ.ศ 2500
- จำแนกพิมพ์พระสมเด็จบางขุนพรหม
- หลวงปู่แก้ว วัดเครือวัลย์ อ.เมือง จ.ชลบุรี
- หลวงปู่ภู่ วัดนอก อ.เมือง จ.ชลบุรี
- หลวงพ่อโต วัดเนินสุทธาวาส อ.เมือง จ.ชลบุรี
- หลวงพ่อเจียม-พระครูชลโธปมคุณมุนี
- หลวงพ่อครีพ วัดอุทยานนที (วัดสมถะ)
- หลวงพ่อแก้ว วัดหนองตำลึง อ.พานทอง จ.ชลบุรี
- ประวัติเจ้าคุณศรี วัดอ่างศิลา( ศรี พฺรหฺมโชติ )
- พระอธิการบ๊วย สงฺกรกิจฺโจ
- หลวงพ่อปาน พุทฺธรกฺขิโต วัดเครือวัลย์ ชลบุรี
- พระเทพชลธารมุนี ( วิเชียร จิตฺตวิริโย )
- ประวัติหลวงปู่ชอบ อนุจารี หรือพระพิมลธรรม ราชบัณฑิต
- หลวงปู่บุญมา ปุณฺณโก หรือพระครูโสภณกิจจาทร
- หลวงปู่เฮี้ยง ปุณฺณจฺฉนฺโท หรือพระวรพรตปัญญาจารย์
- หลวงปู่เหมือน วัดกำแพง ชลบุรี
- หลวงพ่อหลิม พฺรหฺมโชโต
- หลวงพ่อเอื้อน กิตฺติวณฺโณ หรือพระครูบรรหารธรรมกิจ
- หลวงพ่อทวี ( โป้ย ) อาภากโร
- พระวิสุทธสีลากร ( แดง วิสทฺธสีโล )
- พระครูปลัดภุชงค์ ครุธมฺโม
- ภาพชี้ตำหนิ พระปิดตาสายชลบุรี
- ประวัติ หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
- ประวัติของ หลวงพ่อแหยม วัดดอนพุทรา
- พระขุนแผนเจ็ดป่าช้า ของ หลวงพ่อแหยม
- ประวัติอาจารย์โง้วกิมโคย
- ประวัติ หลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง อยุธยา
- ประวัติหลวงพ่อผาง จิตฺตฺคุตฺโต
[ecwid widgets=”productbrowser search” default_category_id=”25649759″ minicart_layout=”MiniAttachToProductBrowser”]